เป้าหมายหลัก

เป้าหมาย (Understanding Goal):
เข้าใจและสามารถแปรรูป และผลิตอาหารจากเห็ดที่เพาะเองได้หลากหลาย มีคุณค่าทางโภชนาการ รวมทั้งเลือกรับประทานได้อย่างเหมาะสม

วันจันทร์ที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2558

main




Topic : อาหารจานเห็ดที่ปลอดภัย

เป้าหมายของความเข้าใจ (Understanding Goal) :
เข้าใจและสามารถแปรรูป และผลิตอาหารจากเห็ดที่เพาะเองได้หลากหลาย มีคุณค่าทางโภชนาการ รวมทั้งเลือกรับประทานได้อย่างเหมาะสม

คำถามหลัก: นักเรียนจะมีวิธีเลือกกรับประทาน เลือกผลิตอาหารที่ปลอดภัยและลดทดทุนการผลิตได้อย่างไร
ภูมิหลังปัญหา :
อาหารเป็นปัจจัยสำคัญต่อการดำรงชีวิต ปัจจุบันอาหารมีให้เลือกหลากหลายแต่เราไม่รู้ว่าแหล่งที่มาหรือต้นทางในการผลิตนั้นปลอดภัยหรือไม่ อาหารที่เราสามารถผลิตเองได้ทำให้เรามั่นใจว่ามีต้นทางที่ปลอดภัย มีคุณค่าทั้งต่อตนเองและผู้อื่น  อาหารจากเห็ดก็เป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่เราสามารถผลิตเองได้และนำไปประกอบอาหารได้หลากหลายเมนู  ทั้งยังมีคุณค่าทางโภชนาการที่หลากหลาย รับประทานแทนเนื้อสัตว์ได้ เช่นเป็นแหล่งโปรตีน(พืช) คาร์โบไฮเดรต ไขมัน วิตามินและแร่ธาตุต่างๆรวมทั้งมีสรรพคุณทางยา ไม่มีคลอเรสเตอรอลที่เป็นอันตรายต่อระบบไหลเวียนโลหิต 
ดังนั้นการเรียนหน่วยเห็ดจึงเป็นโอกาสที่ดี ที่จะทำให้นักเรียนได้เรียนรู้การเป็นผู้ผลิตที่ดี มีความเข้าใจเกี่ยวกับแหล่งที่มาของอาหารปลอดภัยที่มีคุณค่าทางโภชนาการ  มีวิธีเลือกรับประทาน เลือกผลิตและแปรรูปอาหารอย่างเหมาะสมทั้งต่อตนเองและผู้อื่นซึ่งส่งผลต่อการมีสุขภาพที่ดี
.......................................................................................................................................................................................................................................................................
สิ่งที่รู้แล้ว สิ่งที่อยากเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ : อาหารจานเห็ดที่ปลอดภัย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2

Quarter 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา
สิ่งที่รู้แล้ว
สิ่งที่อยากเรียนรู้
- เห็ดเมามีพิษกินไม่ได้
- เห็ดหอมกินได้
- เห็ดนำมาทอดได้
- เห็ดนางฟ้าเพาะได้
- เห็ดเกิดจากสปอร์
- เห็ดเคลื่อนที่เองไม่ได้
- เห็ดไม่ใช่พืช/ไม่ใช่สัตว์
- เห็ดธรรมชาติเกิดฤดูฝน
- เห็ดไม่ชอบสารเคมี
- เห็ดมีหลายสีแตกต่างกัน
- เห็ดคือเชื้อรา
แหล่งที่มา การเกิด
- แหล่งที่มาและการเกิดของเห็ด
- เห็ดมีอายุนานเท่าไร
- ทำไมเห็ดธรรมชาติจึงเกิดเฉพาะต้นฤดูฝน
- ทำไมเห็ดจึงเกิดในป่า
- ทำไมเห็ดไม่ชอบสารเคมี
- เห็ดกินอะไรเป็นอาหาร
- เห็ดเจริญเติบโตได้อย่างไร
- เชื้อราเห็ดเกิดขึ้นได้อย่างไร
- เห็ดมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่าอะไร
- จะนำเห็ดป่าไปเพาะให้กินได้ตลอดปีอย่างไร
ชนิดของเห็ด
- เห็ดกินได้ สังเกตอย่างไร
- เห็ดมีกี่ชนิด แต่ละชนิดมีลักษณะอย่างไร
- หากรับประทานเห็ดพิษจะมีอาการอย่างไร จะรักษาอย่างไร

ประโยชน์ของเห็ด
- เห็ดทำอะไรได้บ้าง
- เห็ดมีคุณค่า มีประโยชน์อย่างไร
อาหาร ผลิตภัณฑ์จากเห็ด
- เราจะทำน้ำปั่นเห็ดได้อย่างไร
- เราจะประกอบอาหาจากเห็ดเป็นเมนูอะไรได้บ้าง
- ไส้กรอกเห็ดทำอย่างไร
การเพาะเห็ด
- เห็ดเพาะอย่างไร
- เราจะดูแลเห็ดที่เพาะอย่างไร

ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยการเรียนรู้กับมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัดแต่ละกลุ่มสาระ

หน่วยการเรียนรู้  : อาหารจานเห็ดที่ปลอดภัย   ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2  Quarter  2  ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558
สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม
หน้าที่พลเมือง
ประวัติศาสตร์
สุขศึกษาและพลานามัย
ศิลปศึกษา
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สร้างฉันทะ/สร้างแรงบันดาลใจ
- เรื่องที่อยากเรียนรู้
- เลือกหัวข้อหน่วยการเรียนรู้
- สิ่งที่รู้แล้ว  
สิ่งที่อยากเรียนรู้
- ปฏิทินการเรียนรู้
- สรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน
มาตรฐาน ว 8.1
-   ใช้กระบวนการการทางวิทยาศาสตร์ ตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่ศึกษา ตามความสนใจ
 (ว 8.1 ป.2/1)
- วางแผนการศึกษาค้นคว้า สำรวจ ตรวจสอบ โดยใช้ความคิดของตนเอง ของกลุ่ม และผู้รู้ (ว 8.1ป.2/2)
- ใช้เครื่องมือ สื่อ วัสดุอุปกรณ์ในการศึกษาค้นคว้า ตรวจสอบ รวบรวมข้อมูล บันทึก หรือสรุปผลการเรียนรู้อย่างเหมาะสม
(ว 8.1 ป.2/3)
- จัดกลุ่มข้อมูลเปรียบเทียบและนำเสนอผลการตรวจสอบ
 แสดงความคิดเห็นเป็นกลุ่มรวบรวม และสรุปความรู้ได้ (ว 8.1 ป.2/4-6)
มาตรฐาน ส 1.1
ชื่นชมเห็นคุณค่าของตนเอง ผู้อื่นระหว่างการทำงานร่วมกัน
 ( 1.1 . 2/5)
มาตรฐาน ส 1.2
ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อผู้อื่นได้อย่างถูกต้อง
 ( 1.2 . 2/1)
มาตรฐาน ส 2.1
- ยอมรับในความคิด และความเชื่อของของผู้อื่นที่มีความแตกต่างจากตนเองในการเลือกและกำหนดสิ่งที่อยากเรียนรู้ (ส 2.1 . 2/3)
- เคารพและให้เกียรติในสิทธิและเสรีภาพของตนเองและผู้อื่นในการเลือกและตัดสินใจ
(ส 2.1 . 2/4)
จุดเน้นที่1
-   มารยาทไทยพูดจาด้วยถ้อยคำที่ไพเราะ มีกริยาสุภาพอ่อนหวาน
(จุดเน้นที่1 1.1 ป.2/1)
-   แสดงออกถึงความเคารพ ช่วยเหลือเพื่อน คุณครู หรือบุคคลอื่นๆ ในโรงเรียน
(จุดเน้นที่1 1.1 ป.2/2)

มาตรฐาน ส 4.1
- สามารถศึกษาค้นคว้าสืบค้นชนิดของเห็ดพื้นถิ่นโดยใช้หลักฐานที่หลากหลาย (ส 4.1ป.5/1)
- เข้าใจและสามารถระบุเวลา เหตุการณ์ เห็นความสัมพันธ์ของเวลา  เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นและเข้าใจถึงความเปลี่ยนแปลง 
(ส 4.1ป.2/1)
- เข้าใจและสามารถลำดับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่หลากหลาย และสามารถวิเคราะห์แยกแยะข้อมูลได้
(ส 4.1ป.2/2)
มาตรฐาน พ  2.1
- ระบุบทบาทหน้าที่ของตนเองต่อสมาชิกในกลุ่มและเพื่อนร่วมชั้นในการเลือกหัวข้อและวางแผนการเรียนรู้ได้
 ( 2.1 2/1)
- ให้เกียรติและบอกความสำคัญของเพื่อนต่อกระบวนการเลือก การวางแผน รวมทั้งการทำกิจกรรมต่างๆร่วมกันได้
(พ 2.1 2/2)
มาตรฐาน ศ 1.1
นำสิ่งที่ได้ดู ได้ฟัง    ได้เห็นสร้างงานศิลปะโดยการวาดภาพและบรรยายถึงสิ่งที่มองเห็นและเรื่องราวเนื้อหาของภาพได้
(ศ 1.1 2/7)
-สามารถสร้างสรรค์ผลงานวาดภาพอาหารที่ชอบและนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้ (ศ1.1 ป.3/6)
-




มาตรฐาน ง 1.1
ทำงานได้ด้วยตนเอง แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นและมีความระมัดระวังรอบคอบในการทำงาน
(ง 1.1 2/3)
มาตรฐาน ง 2.1
มีความคิดสร้างสรรค์สามารถนำสิ่งที่ได้ดูได้ฟัง และได้เห็นไปถ่ายทอดเป็นชิ้นงานภาพวาด รวมทั้งวางแผนล่วงหน้าในการเรียนได้
(ง 2.1 ป.2/4)




















สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม
หน้าที่พลเมือง
ประวัติศาสตร์
สุขศึกษาและพลานามัย
ศิลปศึกษา
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
-ความหมายและความสำคัญของเห็ด
- แหล่งที่มา การเกิดของเห็ดชนิดต่างๆ

- อาหารหลัก 5 หมู่
- อาหารเพื่อสุขภาพจากเห็ดชนิดต่างๆ
- อันตรายจากเห็ดและการรับประทานอาหาร
มาตรฐาน ว 1.1
-สามารถอธิบาย อาหารเป็น
ปัจจัยในการเจริญเติบโต และพัฒนาการด้านต่างๆของมนุษย์ (ว 1.1ป.2/5)
-เข้าใจและวิเคราะห์
สารอาหารแล้วอธิบายความจำเป็นที่ร่างกายต้องการสารอาหารในสัดส่วนที่เหมาะสมกับเพศและวัย (ว 1.1ป.6/3)
-วิเคราะห์สารอาหารจาก
อาหารขยะ และอภิปรายเกี่ยวกับสารอาหารและนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ (ว 1.1ป.6/3)
มาตรฐาน ว 8.1
-จัดกลุ่มข้อมูลของอาหารและเห็ดแต่ละชนิดแล้วเปรียบเทียบและนำเสนอผล (ว 8.1ป.2/4)
มาตรฐาน ส 1.1
- ชื่นชม เห็นคุณค่าของสรรพสิ่งและบอกคุณค่าทางโภชนาการของอาหารจากเห็ดอย่างเหมาะสม
(ส 1.1 .2/5)
-ชื่นชม เห็นคุณค่าและบอก
แบบอย่างของการเป็นผู้บริโภคและผู้ผลิตอาหารที่เหมาะสม (ส 1.1 .2/3)
มาตรฐาน ส 2.1
-   เคารพความคิด ความเชื่อ และการปฏิบัติของผู้อื่น รวมทั้งมีความอดทนอดทน มุ่งมั่นและมีความรับผิดชอบในการทำงาน การทำกิจกรรมร่วมกับผู้อื่นได้
(ส 2.1 ป.2/3)
-เคารพและสามารถแสดงออก
ในสิทธิและเสรีภาพของตนเองและผู้อื่น(ส 2.1 .2/4)
มาตรฐาน ส 4.1
- สามารถศึกษาค้นคว้าสืบค้นแหล่งที่มา การเกิดและชนิดของเห็ดโดยใช้หลักฐานที่หลากหลาย (ส 4.1ป.5/1)
- เข้าใจและสามารถระบุเวลา เหตุการณ์ เห็นความสัมพันธ์ของเวลา  เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นและเข้าใจถึงความเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่ส่งผลต่อการบริโภค(ส 4.1ป.2/1)
มาตรฐาน ส 4.2
เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของการเห็ดที่คนในปัจจุบันและคนในอดีตรับประทาน 
(ส 4.2 . 3/3)
มาตรฐาน พ 2.1
-เข้าใจ เห็นคุณค่าของตนเองและ
ผู้อื่น มีพฤติกรรมที่เหมาะสมตามวัย มีทักษะในการดำเนินชีวิต (พ 2.1 . 2/3)
มาตรฐาน พ 3.1
เข้าใจและสามารถใช้อุปกรณ์ และระมัดระวังการใช้งานอุปกรณ์ที่ก่อให้เกิดอันตรายทั้งต่อตนเองและผู้อื่นระหว่างการทำกิจกรรม 
(พ 3.1 ป.2/2)
มาตรฐาน พ 5.1
- สามารถปฏิบัติตนในการป้องกันและหลีกเลี่ยงอุบัติเหตุระหว่างทำอาหารและการทำกิจกรรมอื่นๆได้อย่างเหมาะสม
(พ 5.1 ป. 2/1)
มาตรฐาน ศ1.1
-เข้าใจและสามารถสร้างสรรค์ผลงานศิลปะผ่านการวาดภาพตกแต่งผลงาน เขียนบรรยายและทำการ์ตูนช่อง
(ศ 1.1ป.2/3)
-สามารถออกแบบตกแต่งผลงานเพื่อถ่ายทอดความคิด ความรู้สึก เกี่ยวกับแหล่งที่มาและการเกิดเห็ดได้ (ศ1.1 ป. 3/6)
-มีทักษะในการใช้วัสดุอุปกรณ์ในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะภาพวาดระบายสีเกี่ยวกับแหล่งที่มา การเกิดเห็ดและสิ่งมีชีวิตอื่น
มาตรฐาน ง 1.1
-ใช้วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือใน
การประกอบหารได้อย่างถูกต้องเหมาะสมกับงานและประหยัด (ง 1.1 ป.2/2)
-สามารถทำงานด้วยตนเอง
ช่วยเหลือและมีน้ำใจเอื้อเฟื้อต่อผู้อื่น อย่างเหมาะสมและปลอดภัย
(ง 1.1 ป.2/3)
สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม
หน้าที่พลเมือง
ประวัติศาสตร์
สุขศึกษาและพลานามัย
ศิลปศึกษา
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ชนิดของเห็ด
- เกิดตามธรรมชาติ (เห็ดกินได้ เห็ดกินไม่ได้)
- การเพาะขยายพันธุ์
อาหารจากเห็ดชนิดต่างๆ
- อาหารคาว
- อาหารหวาน
- อาหารว่าง

มาตรฐาน ว 1.2
-สามารถอธิบายและระบุ
ชนิดของเห็ดที่นำมาทำอาหาร อาหาร มาแปรรูปที่พบในท้องถิ่น (ว 1.2.2/1)
-สำรวจและอธิบายความ
หลากหลายทางชีวภาพที่มีผลต่อการบริโภคของมนุษย์และผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
(ว 1.2 ม.3/5)
-อภิปรายผลของเทคโนโลยี
ชีวภาพของวัตถุดิบในการประกอบอาหารและผลที่เกิดจากเทคโนโลยีนั้น (ว 1.2 ม.3/6)
มาตรฐาน ว 3.1
- สามารถระบุชนิดและเปรียบเทียบคุณค่าของวัตถุดิบและเห็ดชนิดต่างๆที่นำมาทำอาหารเมนูเห็ดได้อย่างเหมาะ
สม คุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด
(ว 3.1 . 2/1)
- สามารถเลือกใช้วัตถุดิบพื้นถิ่นในการทำอาหารจากเห็ดเมนูต่างๆได้อย่างเหมาะสมและปลอดภัยทั้งต่อตนเองและผู้อื่น (ว 3.1 . 2/1)
มาตรฐาน ว 8.1
- เข้าใจและสามารถจัดกลุ่มข้อมูลเปรียบเทียบระหว่างเห็ดชนิดต่างๆที่นำมาทำอาหาร และประยุกต์ใช้กับตนเองอย่างเหมาะสม
(ว 8.1 .2/4)
- เข้าใจและสามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุมีผล รวบรวมความรู้เกี่ยวกับอาหารจากเห็ดชนิดต่างๆ นำมาประยุกต์กับเมนูอื่นๆได้ (ว8.1 .2/6)
- เข้าใจและสามารถนำเสนอกระบวนการและอธิบายผลงาน สิ่งที่เรียนรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจผ่านชิ้นงานได้
(ว 8.1 .2/8)
มาตรฐาน ส 1.1
ชื่นชมเห็นคุณค่าของตนเอง ผู้อื่นระหว่างการทำงานร่วมกัน
 ( 1.1 . 2/5)
มาตรฐาน ส 1.2
ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อผู้อื่นได้อย่างถูกต้อง
 ( 1.2 . 2/1)
มาตรฐาน ส 3.1
- อธิบายได้ว่าทรัพยากรที่มีอยู่
จำกัด มีผลต่อการผลิตและบริโภค(ส 3.1 . 3/3)
-อธิบายบทบาทของผู้ผลิต
อาหารประเภทต่างๆที่มีความรับผิดชอบ (ส 3.1 . 6/1)
มาตรฐาน ส 5.2
แยกแยะและสามารถใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดทั้งที่ใช้แล้วหมดไป หรือนำกลับมาใช้ใหม่ได้ในการเรียนรู้และการประกอบอาหาร หรือในชีวิตประจำวันอย่างเหมาะสม (ส 5.2 . 2/2)
-เข้าใจและสามารถอธิบายความแตกต่างของการบริโภคของคนเมืองและคนชนบท (ส 5.2 . 3/4)


มาตรฐาน ส 2.1
-   เข้าใจและยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่นที่แตกต่างจากตนเองได้โดยไม่มีอคติ
(ส 2.1 ป. 2/3)
-   เห็นคุณค่าของวัฒนธรรมหรือวิถีชีวิตแต่ละพื้นถิ่น รวมทั้งเข้าใจความแตกต่างทางวัฒนธรรมและฐานทรัพยากรในแต่ละพื้นถิ่นที่ควรค่าต่อการดูแลให้อยู่ในภาวะที่สมดุลอย่างยั่งยืน 
(ส 2.1 ป. 2/3)
จุดเน้นที่2
ปฏิบัติตามพระบรมราโชวาทหลักการทรงงาน และหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีความขยันอดทน รู้จักพึ่งพาตนเองในการทำอาหารจากเห็ด และมีความสามัคคีเมื่อทำงานกลุ่ม (จุดเน้นที่2ป.2/5)
จุดเน้นที่3
-   ปฏิบัติตามกฎ ระเบียบและหน้าที่ของตนเอง เช่น การแต่งกาย การเข้าแถว และการดูแลพื้นที่ของตนเองหลังจากทำงานเสร็จเรียบร้อย
(จุดเน้นที่3 3.1 ป.2/6)
รู้หน้าที่ของตนเอง เป็นผู้นำและสมาชิกที่ดี มีรับผิดชอบต่อการทำงาน (จุดเน้นที่3 3.2ป.2/7)
มาตรฐาน ส 4.2
เข้าใจและสามารถอธิบายถึงความเปลี่ยนแปลงในชีวิตประจำวันและผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงที่มีผลต่อวิถีชีวิตและการบริโภคของคนในชุมชน (ส 4.2 . 2/1-2)
มาตรฐาน ส 4.3
เข้าใจ เห็นคุณค่าและสามารถยกตัวอย่างและอธิบายภูมิปัญญาในการประกอบอาหารจากเห็ด
ที่ภูมิใจและควรอนุรักษ์ไว้ (ส 4.3 . 2/2)
มาตรฐาน พ 2.1
-เข้าใจและเห็นคุณค่าของตนเอง และผู้อื่น มีพฤติกรรมที่เหมาะสมตามวัย มีทักษะในการดำเนินชีวิต (พ 2.1 . 2/3)
-วิเคราะห์ปัญหาที่เกิดจากแหล่งที่มาและชนิดของเห็ดที่นำมาประกอบอาหารและภาวะโภชนาการของอาหารจากแหล่งที่มาต่างๆ (พ 2.1 . 1/2)
มาตรฐาน พ 4.1
เข้าใจและสามารถระบุอาหารที่มาจากเห็ดชนิดต่างๆรวมทั้งคุณค่าที่มีต่อสุขภาพได้ 
(พ 4.1 ป.2/3)
มาตรฐาน พ 5.1
สามารถปฏิบัติตนในการป้องกันและหลีกเลี่ยงอุบัติเหตุระหว่างการเรียนรู้และการร่วมกิจกรรมการประกอบอาหารได้อย่างเหมาะสม 
(พ 5.1 ป. 2/1)
มาตรฐาน ศ1.1
-มีทักษะขั้นพื้นฐานในการใช้เครื่องมือ และเลือกอุปกรณ์ในการสร้างสรรค์ผลงาน ศิลปะ
(ศ 1.1ป.2/4)
-เข้าใจและสามารถวาดภาพเพื่อสื่อเรื่องราวเกี่ยวกับการประกอบอาหาร แหล่งที่มาของเห็ดแล้วสามารถนำเสนอผลงานของตนเองให้ผู้อื่นเข้าใจได้
(ศ 1.1 ป.2/6)
มาตรฐาน ง3.1
-ค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับประเภทและแหล่งที่มาของอาหาร อย่างมีขั้นตอนและสามารถนำเสนอข้อมูลข้อมูลในลักษณะต่าง ๆ(ง3.1.3/1)
-ทำงานอย่างมีขั้นตอนตามกระบวนการทำงานประกอบอาหารด้วยความสะอาด ความรอบคอบและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม (ง 1.1 . 3/3)
สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม
หน้าที่พลเมือง
ประวัติศาสตร์
สุขศึกษาและพลานามัย
ศิลปศึกษา
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
  
ประโยชน์และคุณค่าของเห็ดชนิดต่างๆ
- อาหาร
- ยา สมุนไพร

- คุณค่าทางโภชการ
- การเลือกซื้อ เลือกบริโภคอาหาร
- อันตรายจากการรับประทานอาหาร
มาตรฐาน ว 3.1
เข้าใจและสามารถระบุชนิด เปรียบเทียบคุณค่าของวัตถุดิบและเห็ดที่นำมาทำอาหารและสามารถเลือกใช้วัตถุดิบนั้นได้อย่างเหมาะสม คุ้มค่า ปลอดภัยและเกิดประโยชน์สูงสุด
(ว 3.1 ป. 2/1-2)
มาตรฐาน ว 8.1
-สามารถตั้งคำถามใหม่เกี่ยวกับอาหารจากเห็ดและนำมาประยุกต์ใช้ได้ (ว 8.1 ป. 2/5)
- เข้าใจสามารถนำเสนอและอธิบายผลงานให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างมีเหตุผลตรงตามวัตถุประสงค์และกระบวนการการสร้างสรรค์ผลงาน
(ว 8.1 .2/8)
มาตรฐาน ส 1.1
ชื่นชม เห็นคุณค่าและบอกประโยชน์ที่ได้จากการรับประทานอาหารที่ทำจากเห็ด และอาหารอื่นๆที่หลากหลายได้อย่างเหมาะสม
(ส 1.1 .2/3)
มาตรฐาน ส 3.1
ระบุสินค้าที่เป็นวัตถุดิบที่นำมาทำมาประกอบอาหารร่วมกับผลิตภัณฑ์จากเห็ดรวมทั้งเห็ดในชุมชนของตนเอง และนำมาใช้อย่างเหมาะสมและเกิดประโยชน์สูงสุด
(ส3.1 . 2/1)
-ระบุปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกซื้อสินค้าและบริการเพื่อการบริโภคในชีวิตประจำวัน (ส 3.1 .4/1)
- บอกสิทธิขั้นพื้นฐานและรักษาผลประโยชน์ของตนเองในฐานะของผู้บริโภคที่ดี(ส3.1 .4/2)
- เข้าใจและสามารถอธิบายบทบาทของผู้บริโภคอย่างรู้เท่าทัน(ส3.1 .6/2)
-   เข้าใจและสามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ประโยชน์ และโทษจากการรับประทานอาหาร รวมทั้งการนนำวัตถุดิบง่ายๆมาทำอาหารโดยมีเห็ดเป็นวัตถุดิบหลักได้อย่างรู้คุณค่า (ส 3.1 . 2/4)
- อธิบายได้ว่าทรัพยากรที่มีอยู่
จำกัด มีผลต่อการผลิตและบริโภค(ส 3.1 . 3/3)
-อธิบายบทบาทของผู้ผลิต
อาหารประเภทต่างๆที่มีความรับผิดชอบ (ส 3.1 . 6/1)
มาตรฐาน ส 2.1
-   เข้าใจและยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่นที่แตกต่างจากตนเองได้โดยไม่มีอคติ
(ส 2.1 ป. 2/3)
-   เห็นคุณค่าของวัฒนธรรมหรือวิถีชีวิตแต่ละพื้นถิ่น รวมทั้งเข้าใจความแตกต่างทางวัฒนธรรมและฐานทรัพยากรในแต่ละพื้นถิ่นที่ควรค่าต่อการดูแลให้อยู่ในภาวะที่สมดุลอย่างยั่งยืน 
(ส 2.1 ป. 2/3)
จุดเน้นที่2
ปฏิบัติตามพระบรมราโชวาทหลักการทรงงาน และหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีความขยันอดทน รู้จักพึ่งพาตนเองในการทำอาหารจากเห็ด และมีความสามัคคีเมื่อทำงานกลุ่ม (จุดเน้นที่2ป.2/5)
จุดเน้นที่3
-   ปฏิบัติตามกฎ ระเบียบและหน้าที่ของตนเอง เช่น การแต่งกาย การเข้าแถว และการดูแลพื้นที่ของตนเองหลังจากทำงานเสร็จเรียบร้อย
(จุดเน้นที่3 3.1 ป.2/6)
รู้หน้าที่ของตนเอง เป็นผู้นำและสมาชิกที่ดี มีรับผิดชอบต่อการทำงาน (จุดเน้นที่3 3.2ป.2/7)
มาตรฐาน ส 4.1
-ระบุปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ
วัฒนธรรมของอาหารไทยและสากลรวมทั้งพัฒนาการหรือการเปลี่ยนแปลงการบริโภคที่เกิดขึ้นจากอดีตถึงปัจจุบัน และอนาคต (ส 4.1 . 3/1)
มาตรฐาน ส 4.2
เข้าใจและสามารถอธิบายถึงความเปลี่ยนแปลงในชีวิตประจำวันและผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงที่มีผลต่อวิถีชีวิตและการบริโภคของคนในชุมชน (ส 4.2 . 2/1-2)
มาตรฐาน พ 1.1
-สามารถอธิบายธรรมชาติของร่างกายที่ต้องการสารอาหารที่มีประโยชน์ (พ. 1.1 ป. 2/3)
-อธิบายความสำคัญของระบบย่อยอาหารและระบบขับถ่ายที่มีผลต่อการเจริญเติบโต (พ 1.1 .5/1)
-อธิบายประโยชน์ของอาหารที่มีผลต่อระบบย่อยอาหารและระบบขับถ่าย ให้ทำงานเป็นปกติ(พ. 1.1 ป. 5/2)
มาตรฐาน พ 4.1
-สามารถอธิบายอาการและวิธีการป้องกันการเจ็บป่วยผ่านการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ (พ. 4.1 ป. 2/4)
-วิเคราะห์ข้อมูลบนฉลากอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพเพื่อเลือกซื้อและเลือกบริโภค (พ. 4.1 ป. 4/3)
-วิเคราะห์สื่อโฆษณาในการตัดสินใจเลือกซื้ออาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างมีเหตุผล(พ. 4.1 ป. 5/3)
มาตรฐาน ศ1.1
-มีทักษะขั้นพื้นฐานในการใช้เครื่องมือ และเลือกอุปกรณ์ในการสร้างสรรค์ผลงาน ศิลปะ
(ศ 1.1ป.2/4)
-เข้าใจและสามารถวาดภาพเพื่อสื่อเรื่องราวเกี่ยวกับวิถีชีวิตและการทำอาหารและวัฒนธรรมการกินหรือการถนอมอาหาร แล้วสามารถนำเสนอผลงานของตนเองให้ผู้อื่นเข้าใจได้
(ศ 1.1 ป.2/6)
มาตรฐาน ง3.1
-ค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับประเภทและแหล่งที่มาของอาหาร อย่างมีขั้นตอนและสามารถนำเสนอข้อมูลข้อมูลในลักษณะต่าง ๆได้อย่างเหมาะสม(ง3.1.3/1)
-ทำงานอย่างมีขั้นตอนตามกระบวนการทำงานประกอบอาหารด้วยความสะอาด ความรอบคอบและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม (ง 1.1 . 3/3)
สาระการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม
หน้าที่พลเมือง
ประวัติศาสตร์
สุขศึกษาและพลานามัย
ศิลปศึกษา
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สรุปองค์ความรู้
-วิเคราะห์สรุปสิ่งที่อยากเรียนรู้
-วิเคราะห์สิ่งที่ดีแล้ว สิ่งที่ควรปรับปรุง
- สรุปองค์ความรู้หลังเรียนรู้
( Mind Mappingหรือ การ์ตูนช่อง)
-นำเสนอการสิ่งที่ได้เรียนรู้
มาตรฐาน ว 8.1 
- ใช้กระบวนการการทางวิทยาศาสตร์ ตั้งคำถามและหาคำตอบเกี่ยวกับสิ่งที่อยากเรียนรู้ในปัจจุบันและอนาคตผ่านการทำชิ้นงานแผนภาพความคิดและการแสดงแล้วนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจสิ่งที่ตนเองศึกษา(ว8.1 ป.2/1)
- จัดกลุ่มข้อมูลเปรียบเทียบและนำเสนอผลการศึกษาเรียนรู้ แสดงความคิดเห็นเป็นกลุ่มรวบรวม และสรุปความรู้จากสิ่งที่อยากเรียนรู้พร้อมทั้งระบุสิ่งที่ดีแล้วและสิ่งที่ควรปรับปรุงในการเรียนรู้ได้  (ว8.1 ป.2/4-6)
- บันทึกและอธิบายผลการศึกษาค้นคว้า การตรวจสอบ โดยสรุปเป็นMind Mapping หรือคำอธิบาย แล้วนำเสนอผลงานให้ผู้อื่นเข้าใจผ่านรูปแบบหรือวิธีการที่หลากหลายได้อย่างเหมาะสม  (ว8.1 ป.2/7-8)
มาตรฐาน ส 1.1
ชื่นชมเห็นคุณค่าของตนเอง ผู้อื่นระหว่างการทำงานร่วมกัน
 ( 1.1 . 2/5)
มาตรฐาน ส 1.2
ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อผู้อื่นได้อย่างถูกต้อง
 ( 1.2 . 2/1)
มาตรฐาน ส2.1
- ยอมรับในความคิด และความเชื่อของของผู้อื่นที่มีความแตกต่างจากตนเองในการเลือกและกำหนดสิ่งที่อยากเรียนรู้ 
(ส 2.1 . 2/3)
- เคารพและให้เกียรติในสิทธิและเสรีภาพของตนเองและผู้อื่นในการเลือกและตัดสินใจ อย่างไม่มีอคติ
 ( 2.1 . 2/4)
จุดเน้นที่1
มารยาทไทยพูดจาด้วยถ้อยคำที่ไพเราะ มีกริยาสุภาพอ่อนหวาน
(จุดเน้นที่1 1.1 ป.2/1)
จุดเน้นที่3
ปฏิบัติตามกฎ ระเบียบและหน้าที่ของตนเอง เช่นการแต่งกาย การเข้าแถว และการดูแลพื้นที่ของตนเองหลังจากทำงานเสร็จเรียบร้อย
(จุดเน้นที่3 3.1 ป.2/6)
รู้หน้าที่ของตนเอง เป็นผู้นำและสมาชิกที่ดี มีรับผิดชอบต่อการทำงาน (จุดเน้นที่3 3.2ป.2/7)
มาตรฐาน ส 4.1
-ระบุปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ
วัฒนธรรมของอาหารไทยและสากลรวมทั้งพัฒนาการหรือการเปลี่ยนแปลงการบริโภคที่เกิดขึ้นจากอดีตถึงปัจจุบัน และอนาคต (ส 4.1 . 3/1)
มาตรฐาน ส 4.2
เข้าใจและสามารถอธิบายถึงความเปลี่ยนแปลงในชีวิตประจำวันและผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงที่มีผลต่อวิถีชีวิตและการบริโภคของคนในชุมชน (ส 4.2 . 2/1-2)
มาตรฐาน พ2.1
- ระบุบทบาทหน้าที่ของตนเองต่อสมาชิกในกลุ่มและเพื่อนร่วมชั้นในการวางแผนสรุปการเรียนรู้ 
(พ 2.1 2/1)
- ให้เกียรติและเห็นความสำคัญของเพื่อนต่อกระบวนการเรียน การทำงาน รวมทั้งการทำกิจกรรมต่างๆร่วมกันได้
(พ 2.1 . 3/2)
มาตรฐาน ศ 1.1
ใช้วัตถุดิบอุปกรณ์ในการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ได้อย่างเหมาะสม
(ศ 1.1 ป.2/4)
-สามารถสร้างสรรค์ผลงานและออกแบบภาพประกอบการ์ตูน นิทานเพื่อตกแต่งผลงานพร้อมทั้งนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้(ศ1.1 ป.2/1-7)
มาตรฐาน ศ 2.1
สามารถร้องเพลงประกอบการแสดงสรุปการเรียนรู้ พร้อมทั้งเคลื่อนไหวท่าทางได้เหมาะสมสอดคล้องกับเพลงที่ร้อง (ศ2.1 ป.3/5)
มาตรฐาน ศ 3.1
มีมารยาทในการเป็นผู้ชมและผู้แสดงที่เหมาะสม
(ศ 3.1 ป.2/5)
มาตรฐาน ง1.1
ทำงานได้ด้วยตนเอง แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นและมีความระมัดระวังรอบคอบในการทำงาน
 ( 1.1 2/3)
มาตรฐาน ง 2.1
มีความคิดสร้างสรรค์สามารถนำสิ่งที่เรียนรู้ไปถ่ายทอดให้ผู้อื่นเข้าใจได้ 
(ง 2.1 ป.2/4)
ปฏิทินการเรียนรู้บูรณาการ PBL(Problem Based Learning)
หน่วยการเรียนรู้ : อาหารจานเห็ดปลอดภัย
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 Quarter ที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา
week
input
Process
output
outcome





1
10-14
ส.ค. 2558

วันพุธหยุดวันแม่

โจทย์:  วางแผนการเรียนรู้
คำถาม :
นักเรียนจะวางแผนการเรียนรู้ใน Quarter นี้อย่างไร
เครื่องมือคิด :
- Brain Storm
- Black Board share
- wall Thinking
- Round Robin
- Key Question
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-โรงเพาะเห็ดในโรงเรียน
-ป่าโคกหีบ
-อาหารจากเห็ด(หลากหลาย)
- คำถามกระตุ้นคิด “นักเรียนจะวางแผนการเรียนรู้ใน Quarter นี้อย่างไร”
- สำรวจโรงเพาะเห็ด
- ชิมอาหารจากเห็ด
- เก็บเห็ด ในป่าโคกหีบ
-วางแผนปฏิทินการเรียนรู้
-แลกเปลี่ยนเกี่ยวกับกรบวนการเพาะเห็ดนางฟ้า (ถอดประสบการณ์)
-แลกเปลี่ยนเกี่ยวกับเห็ดที่ได้ชิม (รสชาติ กลิ่น สี ความรู้สึก )
แลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการเก็บเห็ดในป่าโคกหีบ
-แลกเปลี่ยนเกี่ยวกับกิจกรรม ชิ้นงานและการเรียนรู้ในแต่ละสัปดาห์ (ปฏิทินการเรียนรู้)
-ปฏิทินการเรียนรู้
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน :
-ถอดประสบการณ์การเพาะเห็ดฟาง
-สำรวจ เก็บเห็ดป่าโคกหีบ
-วางแผนการเรียนรู้
ชิ้นงาน:
-ปฏิทินการเรียนรู้
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ความรู้
เข้าใจและสามารถวางแผนการเรียนรู้ร่วมกันได้อย่างมีเป้าหมาย เป็นขั้นตอน และสร้างสรรค์
ทักษะ
-สื่อสาร
-จัดการข้อมูล
-ทำงานร่วมกัน
-คิดสร้างสรรค์
คุณลักษณะ
- ความพยายาม
- รู้เคารพ
- การปรับตัว

week
input
Process
output
outcome



2


17-21
ส.ค. 2558

โจทย์
แหล่งที่มา การเกิด
คำถาม :
นักเรียนจะเพาะเห็ดเพื่อให้ได้รับประทานอาหารที่ปลอดภัยและมีต้นทุนต่ำอย่างไร

เครื่องมือคิด:
- Key Question
- Brain Storm
- Black Board share
- wall Thinking
- Round Robin

สื่อและแหล่งเรียนรู้
- คลิปการงอกและการเจริญเติบโตของพืช
- ภาพเห็ดชนิดต่างๆ


- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด:นักเรียนคิดว่าเห็ดเกิดขึ้นได้อย่างไร ทำอย่างไรทำให้มีเห็ดรับประทานตลอดทั้งปีได้อย่างไร
- นักเรียนจะสามารถรับประทานเห็ดที่ปลอดภัยได้อย่างไร
- ครูและนักเรียนร่วมกันเรียนรู้ และสังเกตเห็ดชนิดต่างๆว่ามีลักษณะอย่างไร เห็ดชนิดนั้นสามารถรับประทานได้หรือไม่ เพราะเหตุใด
- ครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด นักเรียนคิดว่านอกจากเห็ดที่เราเพาะเองได้แล้วน่าจะมีสิ่งใดอีกบ้างที่เราสามารถเพาะเองได้ และสิ่งนั้นใช้ระยะเวลาไม่นาน
- นักเรียนชิมสลัดผักทานตะวันงอก
- ทดลองการงอก (ทดสอบปัจจัยการงอก การเจริญเติบโต**กิจกรรมการเรียนรู้ การสังเกตระยะยาว)
- ครูและนักเรียนร่วมกันทดลองการงอกของทานตะวันเพื่อเชื่อมโยงการงอก เหมือนหรือต่างจากการเกิดเห็ดอย่างไร
- ดูคลิปวีดีโอการงอกและปัจจัยการงอก
-นักเรียนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้(เป็นกลุ่มนำเสนอ)

ภาระงาน :
-ดูคลิปวีดีโอ สนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับสิ่งที่ดู
-วิเคราะห์สนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับแหล่งที่มาของเห็ด ฤดูกาล


ชิ้นงาน:
- ภาพวาดแหล่งที่มาของเห็ด
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ความรู้
เข้าใจแหล่งที่มาของเห็ดวิเคราะห์เชื่อมโยงปัจจัยการงอกและการเจริญเติบโตของเห็ดกับสิ่งมีชีวิตอื่น รวมทั้งมีวิธีเลือกประกอบและรับประทานอาหารอย่างปลอดภัยทั้งต่อตนเองและผู้อื่น

ทักษะ
- สื่อสาร
- จัดการข้อมูล
- ทำงานร่วมกัน
- คิดสร้างสรรค์

คุณลักษณะ
- ความพยายาม
- รู้เคารพ
- การปรับตัว

week
input
Process
output
outcome





3


24 - 28
 ส.ค. 2558

โจทย์
เพาะเห็ดโดยใช้ต้นทุนต่ำ
คำถาม :
นักเรียนจะเพาะเห็ดเพื่อให้ได้รับประทานอาหารที่ปลอดภัยและมีต้นทุนต่ำอย่างไร
เครื่องมือคิด :
- Brain Storm
- Black Board share ดูแล
- wall Thinking
- Round Robin
- Key Question
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- คลิปการเพาะเห็ดต่างๆ
- อินเทอร์เน็ต
- วัตถุดิบในการเพาะเห็ด /เชื้อเห็ดนางฟ้า
- ผู้ปกครองร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้/ผู้รู้

- ดูคลิปการเพาะเห็ด (การเพาะเห็ด พันธุ์เห็ด)
- วิเคราะห์สนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับกระบวนการ ขั้นตอน หรือวิธีการในการเพาะเห็ด “นักเรียนจะเพาะเห็ดเพื่อให้ได้รับประทานอาหารที่ปลอดภัยและมีต้นทุนต่ำอย่างไร”
- วาดภาพสรุปขั้นตอน กระบวนการเพาะเห็ด
- ผู้ปกครองร่วมแลกเปลี่ยน ให้การเรียนรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเพาะเห็ด
- เพาะเห็ดนางฟ้า
- แลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการเตรียมถุงเชื้อเห็ด “ทำไมต้องบรรจุลงถุง เป็นอย่างอื่นได้ไหม เพราะอะไร / เราจะทำสิ่งใดต่อ *** ผู้ปกครองร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
- เพาะเห็ดเผาะในสวนป่าของโรงเรียน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์







ภาระงาน :
-ดูคลิปวีดีโอ สนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับสิ่งที่ดู (การเพาะเห็ด พันธุ์เห็ด)
-วิเคราะห์สนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับการเพาะเห็ด โดยใช้ต้นทุนต่ำ

ชิ้นงาน:
- เพาะเห็ดนางฟ้า /เห็ดเผาะ
-ภาพวาดขั้นตอนการเพาะเห็ด
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ความรู้
เข้าใจปัจจัยการเกิด การเพาะเห็ดวิเคราะห์เชื่อมโยงปัจจัยการงอกและการเจริญเติบโตของเห็ดกับสิ่งมีชีวิตอื่น รวมทั้งกระบวนการในการเพาะเห็ดที่ใช้ต้นทุนต่ำและปลอดภัย

ทักษะ
- ทักษะชีวิต
- สื่อสาร
- จัดการข้อมูล
- ทำงานร่วมกัน
- คิดสร้างสรรค์

คุณลักษณะ
- ความพยายาม
- รู้เคารพ
- การปรับตัว

week
input
Process
output
Outcome



4


31 ส.ค.
-
4 ก.ย.
2558
โจทย์
อาหารจากเห็ด
คำถาม :
นักเรียนจะเลือกวัตถุดิบและประกอบอาหารจากเห็ดให้อร่อยมีคุณค่าทางโภชนาการอย่างไร

เครื่องมือคิด :
- Black Board share
- wall Thinking
- Round Robin
- Place mat
- Key Question

สื่อและแหล่งเรียนรู้
- คลิปการอาหารจากเห็ดชนิดต่างๆ
- อินเทอร์เน็ต
- วัตถุดิบในการประกอบอาหาร
- ผู้ปกครองร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้/ผู้รู้
-ดูคลิปอาหารจากเห็ดชนิดต่างๆ รายการกบนอกกะลา
ครูตั้งคำถามกระตุ้นคิดนักเรียนจะเลือกวัตถุดิบและประกอบอาหารจากเห็ดให้อร่อยมีคุณค่าทางโภชนาการอย่างไร”
- ประกอบอาหารจากเห็ด โดยให้นักเรียนคิดเมนูเอง
- วาดภาพสรุปกระบวนการประกอบอาหารจากเห็ด และสรุปคุณค่าที่ได้จากการรับประทานอาหารจานนั้น
- ศึกษาค้นคว้าอาหารหลัก 5 หมู่ คำนวณพลังงานที่ร่างกายต้องการในแต่ละวัน “เราจะรับประทานอาหารให้พอดีอย่างไร”
- นักเรียนแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับการรับประทานอาหารและพลังงานจากอาหารที่จำเป็นต่อร่างกายในแต่ละวัน “พลังงานในร่างกายเราได้มาจากที่ไหน”
-นักเรียนประกอบอาหาร ชิม และแลกเปลี่ยนรสชาติ คุณค่าทางโภชนาการเพื่อพัฒนาในครั้งต่อไป
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์


ภาระงาน :
-ดูคลิปวีดีโอ สนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับสิ่งที่ดู (อาหารจากเห็ดต่างๆ)
-วิเคราะห์สนทนาสนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับคุณค่าและประโยชน์ที่ได้จากการรับประทานอาหาร
ชิ้นงาน:
- อาหารจากเห็ดนางฟ้า
-ภาพวาดร่างกาย ชาร์ตความรู้อาหาร 5 หมู่
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ความรู้
เข้าใจและสามารถสามารถนำวัตถุดิบต่างๆมาใช้ประกอบอาหารจากเห็ดแต่ละชนิดได้อย่างเหมาะสม มีประโยชน์ มีคุณค่า และนำความรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน รวมทั้งรับประทานอาหารจากเห็ดที่เพาะเองได้หลากหลายเมนู

ทักษะ
- ทักษะชีวิต
- ทักษะการคิดสร้างสรรค์
- จัดการข้อมูล
- ทำงานร่วมกัน
- คิดสร้างสรรค์

คุณลักษณะ
- ความพยายาม
- รู้เคารพ
- การปรับตัว


week
input
Process
output
Outcome



5


7 - 11 ก.ย.
2558
โจทย์
เห็ดชนิดต่างๆ
คำถาม :
นักเรียนจะประกอบอาหารจากเห็ดชนิดต่างๆให้อร่อยมีคุณค่าทางโภชนาการและปลอดภัยอย่างไร
เครื่องมือคิด :
- Black Board share
- wall Thinking
- Key Question
- Round Robin
- Placemat
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- คลิปอาหารจากเห็ดชนิดต่างๆ
- อินเทอร์เน็ต
- วัตถุดิบในการประกอบอาหาร
- ผู้ปกครองร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้/ผู้รู้
- นักเรียนดู สังเกตเห็ดชนิดต่างๆ มีลักษณะเหมือน หรือต่างกันอย่างไร แต่ละชนิดสามารถนำไปทำอะไรได้บ้าง (ครูนำมาให้สังเกต ศึกษา)
- ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับเห็ดชนิดต่างๆจากอินเทอร์เน็ต
- สรุปเกี่ยวกับเห็ดชนิดต่างๆเป็นชาร์ตความรู้
- นักเรียนประกอบอาหารจากเห็ดชนิดต่างๆ
- นักเรียนวิเคราะห์ พัฒนาสูตรอาหารจากเห็ดชนิดต่างๆ
- นักเรียนสรุปการทำอาหารเป็นการ์ตูนช่อง (แต่ละกลุ่มแตกต่างกัน)
- ทดสอบโปรตีน แป้งจากเห็ด
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์



ภาระงาน :
- ดูคลิปวีดีโอ สนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับสิ่งที่ดู (อาหารจากเห็ดต่างๆ)
- วิเคราะห์สนทนาสนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับการประกอบอาหารจากเห็ดชนิดต่างๆ
- ประกอบอาหารจากเห็ดชนิดต่างๆ
ชิ้นงาน:
-อาหากเห็ดชนิดต่างๆ
- ชาร์ตความรู้ เห็ดชนิดต่างๆ
-การ์ตูนช่อง อาหารจากเห็ดชนิดต่างๆ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ความรู้
เข้าใจและสามารถสามารถอธิบายลักษณะของเห็ดนิดต่างๆ นำเห็ดแต่ละชนิดมาประกอบอาหารด้วยเมนูที่หลากหลาย เหมาะสม มีประโยชน์ มีคุณค่าทางโภชนาการ และนำความรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน รวมทั้งเลือกรับประทานอาหารเหมาะสมกับตนเอง

ทักษะ
- ทักษะชีวิต
- ทักษะการคิดสร้างสรรค์
- จัดการข้อมูล
- ทำงานร่วมกัน
- คิดสร้างสรรค์

คุณลักษณะ
- ความพยายาม
- รู้เคารพ
- การปรับตัว
week
input
Process
output
Outcome



6


14 – 18
 ก.ย.
2558
โจทย์
- น้ำพริกเห็ด
- ซุปเห็ด
คำถาม :
นักเรียนจะประกอบอาหารจากเห็ดชนิดต่างๆให้อร่อยมีคุณค่าทางโภชนาการและปลอดภัยอย่างไร
เครื่องมือคิด :
- Key Question
- Black Board share
- wall Thinking
- Round Robin
- Show & Share
- Placemat

สื่อและแหล่งเรียนรู้
- คลิปอาหารจากเห็ดชนิดต่างๆ (น้ำพริกเห็ด ซุปเห็ด)
- อินเทอร์เน็ต
- วัตถุดิบในการประกอบอาหาร(น้ำพริกเห็ด ซุปเห็ด)

- ค้นคว้าเห็ดชนิดต่างๆจากอินเทอร์เน็ตที่สามารถนำมาทำน้ำพริก ทำซุป รวมทั้งวิธีหรือสูตรการทำน้ำพริก ทำซุปเห็ดเพิ่มเติม
- สนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับเห็ดชนิดต่างๆ มีลักษณะเหมือน หรือต่างกันอย่างไร แต่ละชนิดสามารถนำไปทำน้ำพริก หรือทำซุปแบบไหนได้บ้าง แต่ละเมนูน่าจะมีเครื่องแนมอะไรบ้าง
- ประกอบอาหารน้ำพริก ซุปเห็ด
- วิเคราะห์ แลกเปลี่ยนเกี่ยวกับน้ำพริก ซุปเห็ด (รสชาติ คุณค่าทางโภชนาการ พลังงานและสารอาหารที่ได้รับต่อจาน ) 
- สรุปการทำอาหารเป็นการ์ตูนช่อง
- ทดสอบโปรตีนจากเห็ด
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ พร้อมข้อเสนอแนะรูปแบบที่จะนำเสนอและถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้ร่วมเรียนรู้



ภาระงาน :
- ดูคลิปวีดีโอ ภัตตาคารอาหารบ้านทุ่ง สรุปสิ่งที่ได้ดู
- วิเคราะห์สนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับเห็ดชนิดต่างๆ มีลักษณะเหมือน หรือต่างกันอย่างไร แต่ละชนิดสามารถนำไปทำน้ำพริก หรือทำซุปแบบไหนได้บ้าง แต่ละเมนูน่าจะมีเครื่องแนมอะไรบ้าง
- ประกอบอาหารน้ำพริกเห็ด ซุปเห็ด
ชิ้นงาน:
-น้ำพริกเห็ด
-ซุปเห็ด
- ชาร์ตความรู้ น้ำพริกเห็ด ซุปเห็ด
-การ์ตูนช่องน้ำพริกเห็ด ซุปเห็ด
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
เข้าใจและสามารถสามารถอธิบายลักษณะของเห็ดนิดต่างๆ นำเห็ดแต่ละชนิดมาประกอบอาหารน้ำพริกเห็ด ซุปเห็ดได้อย่างเหมาะสม มีประโยชน์ มีคุณค่าทางโภชนาการ และนำความรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน รวมทั้งเลือกรับประทานอาหารเหมาะสมกับตนเอง
ทักษะ
- ทักษะชีวิต
- ทักษะการคิดสร้างสรรค์
- จัดการข้อมูล
- ทำงานร่วมกัน
- คิดสร้างสรรค์
คุณลักษณะ
- ความพยายาม
- รู้เคารพ
- การปรับตัว
week
input
Process
output
Outcome

7


21 - 25

ก.ย.
2558


โจทย์
เพิ่มมูลค่า

คำถาม :
นักเรียนแปรรูปและเพิ่มมูลค่าของเห็ดที่เพาะเองได้อย่างไร

เครื่องมือคิด :
- Key Question
- Black Board share
- wall Thinking
- Round Robin
- Placemat
- Show & Share

สื่อและแหล่งเรียนรู้
- อินเทอร์เน็ต
- วัตถุดิบในการประกอบอาหาร

- ดูคลิปการทำขนม(ของว่าง)จากเห็ด ***สาคูไส้เห็ด
ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “นักเรียนแปรรูปและเพิ่มมูลค่าของเห็ดที่เพาะเองได้อย่างไร”
- ค้นคว้าเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และอาหารแปรรูปจากเห็ดเพิ่มเติม
- แลกเปลี่ยนเกี่ยวกับสิ่งที่ศึกษาค้นคว้า แต่ละกลุ่มแลกเปลี่ยนว่ามีสิ่งใดที่เหมือนหรือต่างกันบ้าง แต่ละกลุ่มจะสามารถทำผลิตภัณฑ์หรือแปรรูปอาหารจากเห็ดอะไรได้บ้าง
- ทำอาหารและแปรรูปเห็ดนางฟ้าที่เพาะเองเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆตามที่วางแผนไว้ โดยครูเป็นผู้อำนวยให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และการทำงานร่วมกัน เมื่อทำเสร็จแล้วแต่ละกลุ่มสลับกันชิม
- สนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับการพัฒนาสูตรการทำอาหาร การแปรรูปและผลิตภัณฑ์อาหารเมนูเห็ดให้อร่อย มีคุณค่าทางโภชนาการ ปลอดภัย และใช้ต้นทุนต่ำ
- สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการแปรรูปและผลิตภัณฑ์จากเห็ด (Place mat)
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ภาระงาน :
- ดูคลิปวีดีโอ สาคูไส้เห็ด
- ประกอบและแปรรูปอาหารจากเห็ดที่เพาะเอง
-วิเคราะห์สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้และการพัฒนาสูตรการทำอาหารจากเห็ดต่างๆ

ชิ้นงาน:
- ผลิตภัณฑ์และอาหารแปรรูปจากเห็ด
- สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากเห็ด (Place mat)
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
เข้าใจและสามารถสามารถ นำเห็ดแต่ละชนิดมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ ตามความสนใจได้อย่างเหมาะสม มีประโยชน์ มีคุณค่าทางโภชนาการ และนำความรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน รวมทั้งเลือกรับประทานอาหารเหมาะสมกับตนเอง

ทักษะ
- ทักษะชีวิต
- ทักษะการคิดสร้างสรรค์
- จัดการข้อมูล
- ทำงานร่วมกัน
- คิดสร้างสรรค์
คุณลักษณะ
- ความพยายาม
- รู้เคารพ
- การปรับตัว
week
input
Process
output
Outcome


8


28 ก.ย.
-
2 ต.ค.
2558
โจทย์
ผู้ผลิตที่ดี
คำถาม :
นักเรียนจะประกอบอาหารที่อร่อย ปลอดภัย และมีคุณค่าทางโภชนาการให้ผู้อื่นรับประทานอย่างไร
เครื่องมือคิด :
- Key Question
- Black Board share
- wall Thinking
- Round Robin การ
- Placemat
- Show & Share
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- อินเทอร์เน็ต
- วัตถุดิบในการประกอบอาหาร
- คลิปอาหารปลอดภัย

ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ผู้ปกครอง

- ชมคลิป “อาหารปลอดภัย” “ อันตรายจากการรับประทานอาหาร”
- สนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับสิ่งที่ดู
ครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนจะประกอบอาหารที่อร่อย ปลอดภัย และมีคุณค่าทางโภชนาการให้ผู้อื่นรับประทานอย่างไร”
- จับฉลากแบ่งกลุ่ม และเลือกชั้นเรียนที่จะทำอาหารไปให้รับประทาน(ไม่ซ้ำกัน)
- ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับวัยและการรับประทานอาหารและเลือกเมนูที่จะทำ
- วางแผนการเตรียมวัตถุดิบและอุปกรณ์การประกอบอาหาร
- สังเกตวันเดือน ปี ส่วนประกอบในฉลากอาหาร
- สรุปเกี่ยวกับอาหารปลอดภัยและอันตรายจากการรับประทานอาหาร (ชาร์ตความรู้)
- นักเรียนและผู้ปกครองร่วมกันประกอบอาหารจากเห็ดเมนูต่างแล้วนำไปให้ผู้อื่นรับประทาน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ภาระงาน :
- ดูคลิปวีดีโอ อาหารปลอดภัย ภัยจากการรับประทานอาหาร
-วิเคราะห์สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้และอ่านฉลากอาหาร รวมทั้งการเลือกซื้อวัตถุดิบเพื่อนำมาประกอบอาหาร

ชิ้นงาน:
- ประกอบอาหารจากเห็ด (ให้ผู้อื่นรับประทาน)
- สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้อาหารปลอดภัย (ชาร์ตความรู้)
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ความรู้
เข้าใจและสามารถสามารถ นำเห็ดแต่ละชนิดมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ และอาหารต่างๆ เพื่อให้ผู้อื่นรับทาน อย่างปลอดภัย อร่อย และมีคุณค่าทางโภชนาการ รวมทั้งนำความรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน เลือกรับประทานอาหารได้เหมาะสมกับตนเอง
ทักษะ
- ทักษะชีวิต
- ทักษะการคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการอยู่ร่วมกัน
- ทักษะการจัดการข้อมูล
- ทักษะการสื่อสาร

คุณลักษณะ
- ความพยายาม
- รู้เคารพ
- การปรับตัว